ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

นีล ไรเบิร์ก ฟินเซน

นีล ไรเบิร์ก ฟินเซน (Niels Ryberg Finsen; 15 ธันวาคม ค.ศ. 1860 – 24 กันยายน ค.ศ. 1904) เป็นแพทย์และนักวิทยาศาสตร์ชาวไอซ์แลนด์/หมู่เกาะแฟโร/เดนมาร์ก ในปี ค.ศ. 1903 เขาได้รับรางวัลโนเบลสาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์เนื่องจาก "ให้ไว้เพื่อความระลึกถึงการอุทิศตนของท่านในวิธีการรักษาโรค โดยเฉพาะโรค lupus vulgaris โดยใช้รังสีแสงเข้มข้นอันเป็นการเปิดทางใหม่ในความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์"

นีล ฟินเซนเกิดที่ทอร์สเฮาน์ หมู่เกาะแฟโร เป็นบุตรคนที่ 2 จาก 4 คนของฮานน์ สไตน์กริม ฟินเซน (Hannes Steingrim Finsen) ซึ่งเป็นสมาชิกตระกูลชาวไอซ์แลนด์ซึ่งย้อนประวัติได้ถึงคริสต์ศตวรรษที่ 10 และโยฮานน์ เฟรอมัน (Johanne Fr?man) ซึ่งถือกำเนิดและเติบโตที่ไอซ์แลนด์ ครอบครัวของเขาได้ย้ายจากไอซ์แลนด์ไปยังทอร์สเฮาน์ในปี ค.ศ. 1858 เพราะบิดาของเขาได้รับตำแหน่งที่หมู่เกาะแฟโร ในปี ค.ศ. 1864 เมื่อนีลมีอายุได้ 4 ปีมารดาของเขาเสียชีวิต และบิดาของเขาแต่งงานใหม่กับลูกพี่ลูกน้องของโยฮานน์ชื่อ เบียร์กิทท์ เคียรสทีน เฟรอมัน (Birgitte Kirstine Formann) และมีลูกด้วยกัน 6 คน ในปี ค.ศ. 1871 บิดาของนีลได้เป็นข้าหลวง (Amtmand) ของหมู่เกาะแฟโร นีล ฟินเซนได้รับการศึกษาชั้นต้นในเมืองทอร์สเฮาน์ จน ค.ศ. 1874 เขาได้ศึกษาที่โรงเรียนประจำ Herlufsholm ที่เดนมาร์ก ที่ซึ่งพี่ชายของเขา โอลาฟ ฟินเซน กำลังศึกษาอยู่ นีลปรับตัวเข้ากับโรงเรียนได้ยากตรงข้ามกับโอลาฟ ดังจะเห็นจากข้อความของครูใหญ่ที่กล่าวถึงนีลว่าเป็น "เด็กชายที่จิตใจดีแต่ขาดทักษะและความกระตือรือร้น" อันตรงข้ามกับการทำงานและการวิจัยของนีลในเวลาต่อมา เนื่องจากผลการเรียนของเขาไม่ดีจึงย้ายมาเรียนที่โรงเรียนเก่าของบิดาของเขา คือ L?r?i sk?linn ในเรคยาวิกในปี ค.ศ. 1876 ซึ่งผลการเรียนของเขาดีขึ้นอย่างมาก

ในปี ค.ศ. 1882 นีล ฟินเซนย้ายไปยังโคเปนเฮเกนเพื่อศึกษาวิชาแพทยศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน และสำเร็จการศึกษาใน ค.ศ. 1890 หลังจากเรียนจบเขาได้เป็นนักชำแหละ (prosector) ด้านกายวิภาคศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน หลังจากนั้น 3 ปีเขาลาออกและอุทิศตนเพื่อการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ ใน ค.ศ. 1898 ฟินเซนได้รับตำแหน่งศาสตราจารย์และได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ Knight of the Order of Dannebrog ในปี ค.ศ. 1899

สถาบันฟินเซน (Finsen Institute) ก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1896 โดยนีล ฟินเซนเป็นผู้อำนวยการ ซึ่งต่อมาได้รวมกับโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกน และในปัจจุบันคือห้องปฏิบัติการวิจัยมะเร็งที่เชี่ยวชาญด้านการสลายโปรตีน

ฟินเซนเป็นที่รู้จักด้านทฤษฎีการบำบัดด้วยแสง (phototherapy) ซึ่งกล่าวว่าความยาวคลื่นของแสงมีผลดีทางด้านการแพทย์ งานเขียนที่สร้างชื่อเสียงคือ Finsen Om Lysets Indvirkninger paa Huden (ผลกระทบของแสงต่อผิวหนัง) ที่ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1893 และ Om Anvendelse i Medicinen af koncentrerede kemiske Lysstraaler (การใช้รังสีแสงเคมีเข้มข้นในทางการแพทย์) ที่ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1896 ผลงานดังกล่าวได้รับการแปลเป็นภาษาเยอรมัน และตีพิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศสในชื่อ La Phototh?rapie ผลงานในช่วงบั้นปลายชีวิตคืองานวิจัยผลของเกลือ โดยศึกษาผลของอาหารที่มีปริมาณโซเดียมต่ำซึ่งได้รับการตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1904 ชื่อ En Ophobning af Salt i Organismen (การสะสมของเกลือในสิ่งมีชีวิต)

ในปี ค.ศ. 1889 นีล ฟินเซนหมั้นกับ อินเจบอร์ก บัลสเลฟ (Ingeborg Balslev; 1868–1963) และแต่งงานเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม ค.ศ. 1892 ตั้งแต่ช่วงกลางทศวรรษที่ 1880 สุขภาพของเขาแย่ลงเรื่อยๆ เขามีปัญหาด้านหัวใจและท้องมานและอ่อนแรง แม้อาการเจ็บป่วยจะรบกวนร่างกายแต่จิตใจของเขายังคงเข้มแข็ง แม้บั้นปลายชีวิตเขาต้องนั่งรถเข็นเขาก็ยังอุทิศตนเพื่อการแพทย์อย่างมากมาย

สถาบันฟินเซนที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยโคเปนเฮเกนตั้งชื่อขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่ท่าน และที่เมืองทอร์สเฮาน์มีอนุสรณ์สถานเพื่อระลึกถึงฟินเซน เช่น ถนนสายหลักสายหนึ่งของเมืองตั้งชื่อตามท่าน อนุสาวรีย์เพื่อระลึกถึงฟินเซนซึ่งออกแบบโดยรูดอล์ฟ เทกเนอร์ (Rudolph Tegner) สร้างขึ้นที่โคเปนเฮเกนในปี ค.ศ. 1909 มีลักษณะเป็นผู้ชายและมีผู้หญิง 2 คนพิงอยู่กำลังเอื้อมขึ้นไปยังท้องฟ้า อนุสาวรีย์ดังกล่าวมีชื่อว่า Mod lyset (มุ่งสู่แสงสว่าง) ซึ่งเป็นสัญลักษณ์แสดงหลักทฤษฎีของฟินเซนว่าแสงสว่างสามารถรักษาโรคได้


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

นรีเวชวิทยา สูติศาสตร์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ศัลยศาสตร์ อายุรศาสตร์ กุมารเวชศาสตร์ ขมิ้นอ้อย วาซาบิ ขมิ้น มะขาม กุหลาบมอญ ทับทิม (ผลไม้) Nigella sativa ชะเอมเทศ เปราะหอม ข่า (พืช) ลูกซัด (พืช) ผักชีล้อม เทียนดำ ยี่หร่า อบเชย มะม่วงหัวแมงวัน ขึ้นฉ่าย อบเชยจีน กระวานไทย กระวานเทศ เทียนตากบ การบูร มหาหิงคุ์ โป๊ยกั้ก เทียนสัตตบุษย์ ออลสไปซ์ โรสแมรี ออริกาโน มินต์ (พืช) ผักแขยง ลาเวนเดอร์ คาวทอง ผักชีลาว เทียนแดง ผักชี กุยช่าย เชอร์วิล ใบกระวาน กะเพรา จันทน์เทศ กานพลู หอมต้นเดี่ยว ขัณฑสกร (ยา) โคแฟกเตอร์ อะดีโนซีนไตรฟอสเฟต เพปไทด์ สเตอรอยด์ พันธะคู่ กรดไขมันอิ่มตัว ไตรกลีเซอไรด์ เอสเทอร์ โอลิโกแซ็กคาไรด์ เซลลูโลส ซูโครส ไดแซ็กคาไรด์ กาแล็กโทส อัลดีไฮด์ ยางธรรมชาติ มอโนแซ็กคาไรด์ พันธะเพปไทด์ พอลิเพปไทด์ พันธะโควาเลนต์ พอลิเมอไรเซชัน ไกลโคลิพิด ฟอสโฟลิพิด โมเลกุลเล็ก พอลิแซคคาไรด์ ไมโอโกลบิน คณะเภสัชศาสตร์ ประวัติเภสัชกรรม เภสัชพลศาสตร์ เภสัชจลนศาสตร์ นิติเภสัชกรรม บริหารเภสัชกิจ เภสัชกรรมคลินิก เทคโนโลยีเภสัชกรรม เภสัชวิเคราะห์ เภสัชพฤกษศาสตร์ เภสัชเวท เภสัชอุตสาหกรรม เภสัชภัณฑ์ เภสัชเคมี พอลิแซ็กคาไรด์ ซิลิโคน รายชื่อสาขาวิชา สูตรเคมี น้ำหนักโมเลกุล ผลึกศาสตร์ ฟังก์ชันนัลกรุป อินโดล อิมิดาโซล อะซูลีน เบนโซไพรีน ฟีแนนทรีน

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
243
244
245
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24537